บริษัท spacex 2023 ของมหาเศรษฐี อีลอน มัสก์ ประสบความสำเร็จในการสร้างประวัติศาสตร์ ด้วยการส่งเที่ยวบินท่องอวกาศแรก นำกลุ่มนักท่องเที่ยวที่เป็นพลเรือนทั้งหมดและไม่ใช่นักบินอวกาศมืออาชีพของรัฐ ขึ้นไปท่องเที่ยวในวงโคจรโลกเป็นเวลา 3 วัน ภายใต้ภารกิจที่เรียกว่า Inspiration4
spacex 2023 สร้างประวัติศาสตร์ ปล่อยจรวดท่องอวกาศเที่ยวบินแรก
spacex 2023 ได้ปล่อยจรวด Falcon 9 Block 5 ซึ่งเป็นจรวดขนาดกลางแบบสองขั้นที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้ ออกจากศูนย์อวกาศเคนเนดีในรัฐฟลอริดา เมื่อเวลา 20.02 น. วานนี้ (15 กันยายน) ตามเวลาท้องถิ่น หรือตรงกับเวลา 07.02 น. ที่ผ่านมา ตามเวลาไทย โดยมีนักท่องเที่ยวทั้งหมด 4 คน นำโดย จาเร็ด ไอแซคแมน (Jared Isaacman) มหาเศรษฐีนักธุรกิจชาวอเมริกัน ผู้ก่อตั้งและซีอีโอของบริษัทให้บริการชำระเงิน Shift4 Payments ซึ่งเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายทั้งหมดในเที่ยวบินนี้
โดยไอแซคแมนมีประสบการณ์ขับเครื่องบินรบของกองทัพและเป็นนักบินอวกาศมือสมัครเล่น ซึ่งเขารับหน้าที่เป็นผู้บัญชาการประจำยาน (Spacecraft commander) ส่วนลูกเรืออีก 3 คน ได้แก่
- นักบิน – ดร.เซียน พรอคเตอร์ (Sian Proctor) นักธรณีวิทยาและนักบินอวกาศเชิงพาณิชย์วัย 51 ปี ที่เคยเข้ารอบสุดท้ายของโครงการนักบินอวกาศของ NASA
- แพทย์ประจำเที่ยวบิน – เฮย์ลีย์ อาร์เซโนซ์ (Hayley Arceneaux) ผู้ช่วยแพทย์วัย 29 ปี ของโรงพยาบาลวิจัยเด็กเซนต์จูด
- ผู้เชี่ยวชาญประจำภารกิจ – คริสโตเฟอร์ เซมบรอสกี (Christopher Sembroski) วิศวกรข้อมูลชาวอเมริกัน ทหารผ่านศึกกองทัพอากาศและนักบินอวกาศเชิงพาณิชย์วัย 42 ปี ที่ได้รับตั๋วที่นั่งจากเพื่อนที่ชนะการจับรางวัลในนามผู้ร่วมบริจาค
ทั้งนี้กลุ่มลูกเรือทั้งหมดซึ่งผ่านการฝึกเตรียมความพร้อมในการท่องอวกาศมาเป็นเวลา 6 เดือน จะโดยสารในยาน Crew Dragon Resilience ซึ่งเดินทางไปยังวงโคจรที่ระดับความสูง 585 กิโลเมตรเหนือพื้นโลก และจะใช้เวลาท่องอวกาศรอบวงโคจรเป็นเวลา 3 วัน ก่อนกลับถึงพื้นโลกในวันที่ 19 กันยายน
สำหรับเป้าหมายหลักของภารกิจ Inspiration4 คือการระดมทุน 200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อโรงพยาบาลวิจัยเด็กเซนต์จูด ขณะที่เที่ยวบินท่องอวกาศแรกของ SpaceX ยังมาพร้อมการสร้างประวัติศาสตร์ในหลายด้าน อาทิ
- เที่ยวบินอวกาศแรกที่ลูกเรือทั้งหมดไม่ใช่นักบินอวกาศมืออาชีพ
- นักบินหญิงผิวสีคนแรกของเที่ยวบินอวกาศ
- พลเรือนอเมริกันอายุน้อยที่สุดที่เดินทางสู่อวกาศ (เเฮย์ลีย์ อาร์เซโนซ์, 29 ปี)
- เที่ยวบินอวกาศเอกชนเที่ยวบินแรกของ SpaceX
ความเป็นมา
Space X มีสำนักงานใหญ่ใน Hortone ในสหรัฐอเมริกาแคลิฟอร์เนียก่อตั้งขึ้นในปี 2545 ด้วยเงินทุนส่วนตัวของมหาเศรษฐีของแคนาดา CEO กำลังนั่งอยู่ที่ตำแหน่งปัจจุบันเมื่อมีการจัดตั้งขึ้นหน้ากากมีเป้าหมายในการสร้าง บริษัท นี้ เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการส่งจรวดเพื่อตั้งอาณานิคมในอนาคต
บริษัท SPACE X ทั้งการออกแบบการผลิตจรวดและยานอวกาศจะถูกส่งไปยังอวกาศ การปฏิวัติได้รับการปฏิวัติในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีอวกาศโดยการพัฒนาสองชั่วอายุการพัฒนาของ Falcons 1 และ Falcons-9 และทำให้ประวัติศาสตร์โลกโดยการกลายเป็นจรวดแรกที่สามารถลื่นได้ออกแบบโครงสร้าง
นอกจากนี้ Dragon Space Center (Dragon) ที่ใช้ในจรวด Falcon-9 เรือมังกรที่สามารถขนส่งผู้ที่ส่งผลิตภัณฑ์เพื่อสนับสนุนภารกิจสถานีสถานีอวกาศว่ายังอยู่ระหว่างการพัฒนา
ขาขึ้นของ “สเปซเอ็กซ์”
ก่อนหน้านี้ สเปซเอ็กซ์ประสบความสำเร็จในการปล่อยจรวดลำที่ 4 ของบริษัทเมื่อปลายปี 2551 และลำที่ 5 ซึ่งบรรทุกดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจรเมื่อปี 2552 หลังจากล้มเหลวในการปล่อยจรวด 3 ลำแรกรุ่น ฟอลคอน-1 ระหว่างปี 2549-2551 ซึ่งมาจากทุนเอกชนทั้งหมด
ต่อมา สเปซเอ็กซ์ได้รับทุนบางส่วนจากนาซา จนกระทั่งเร่งพัฒนาจรวด ฟอลคอน-9 ที่ถูกปล่อยครั้งแรกในปี 2553 และจากนั้นมา ฟอลคอน-9 ก็ได้ทำภารกิจส่งสินค้า รวมถึงดาวเทียมและเสบียงไปยังสถานีไอเอสเอสอีกกว่า 80 ครั้ง แต่ระหว่างนั้นมีภารกิจล้มเหลว 2 ครั้งคือในปี 2558 และ 2559
ปัจจุบัน สเปซเอ็กซ์กลายเป็นบริษัทพันธมิตรขาประจำของนาซาในภารกิจปล่อยจรวด และจนถึงตอนนี้มีส่วนร่วมในโครงการปล่อยจรวดของนาซาอยู่ราว 2 ใน 3 ของโครงการทั้งหมด ด้วยสัญญาสัมปทานมูลค่าหลายพันล้านดอลลาร์
นอกจากนี้ สเปซเอ็กซ์ยังให้บริการ “ไรด์แชร์” คือรับบรรทุกสิ่งของที่มีน้ำหนักเบากว่าซึ่งมีมูลค่าอย่างน้อย 1 ล้านดอลลาร์ ขึ้นสู่วงโคจรพร้อมกับสิ่งของอื่น ๆ ด้วย
เมื่อต้นปีนี้ บริษัทอวกาศของมัสก์ ระดมทุนครั้งล่าสุดได้กว่า 500 ล้านดอลลาร์เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในงบพัฒนาแคปซูลอวกาศ ครูว์ ดรากอน, โครงการ “สตาร์ชิป” และโครงการธุรกิจดาวเทียม “สตาร์ลิงก์” ทำให้บริษัทมีมูลค่าอยู่ที่ 3.6 หมื่นล้านดอลลาร์ (ราว 1.14 ล้านล้านบาท) ในปัจจุบัน นับเป็นหนึ่งในบริษัทเอกชนที่มีมูลค่าสูงที่สุดในโลก
ขาลงของ “นาซา”
การที่สเปซเอ็กซ์มีบทบาทเด่นด้านอวกาศในช่วงนี้เกิดขึ้นหลังจาก นาซา หน่วยงานของรัฐบาลสหรัฐ สั่งปิดโครงการส่งมนุษย์ไปอวกาศของตนเมื่อปี 2554 ทำให้ต้องหันมาพึ่งบริษัทเอกชนในการร่วมทำโครงการส่งนักบินขึ้นสู่อวกาศในปัจจุบัน
หลังยุติโครงการส่งมนุษย์ไปนอกโลกช่วงแรก ๆ นาซาหันไปโฟกัสกับวิทยาการของดาวอังคารและโลก แต่เมื่อ “โดนัลด์ ทรัมป์” เข้ามาเป็นประธานาธิบดีสหรัฐ นาซาก็เปลี่ยนเป้าหมายอีกครั้งและได้รับทุนให้ทำโครงการส่งมนุษย์ไปสำรวจดวงจันทร์ภายใต้ชื่อ “อาร์ทิมิส” (Artemis) ซึ่งจะยังไม่เกิดขึ้นภายในเร็ววัน
ประธานาธิบดีทรัมป์ ซึ่งร่วมเป็นสักขีพยานในการปล่อยจรวดของสเปซเอ็กซ์เมื่อสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา เรียกภารกิจครั้งนี้ว่า “เป็นการเริ่มต้น” และจุดหมายปลายทางต่อไป คือการส่งยานอวกาศไปยังดาวอังคาร พร้อมให้คำมั่นว่า จะส่งนักบินอวกาศสหรัฐกลับคืนสู่ดวงจันทร์อีกครั้งภายในปี 2567 เพื่อตั้งฐานที่มั่นถาวร จากนั้นก็จะปล่อยยานขึ้นไปสำรวจดาวอังคาร
ผู้นำสหรัฐประกาศว่า “ผู้หญิงคนแรกที่จะได้เหยียบดวงจันทร์ จะต้องเป็นชาวอเมริกัน และอเมริกาก็จะเป็นชาติแรกในการขึ้นไปบนดาวอังคาร”
อย่างไรก็ตาม ผู้เชี่ยวชาญด้านอวกาศกล่าวว่า ภารกิจครั้งนี้ของสเปซเอ็กซ์ยังไม่ถือว่าประสบความสำเร็จเต็ม 100% จนกว่า 2 นักบินอวกาศของนาซาจะเดินทางกลับมาถึงโลกโดยสวัสดิภาพ